ยินดีต้อนรับเข้าสู่บล็อกวิชาคณิตศาสตร์ของนางสาวนันทิพร เสือณรงค์ เลขที่ 16 ชั้น ม.4/2

เม้า1

Tiny Bunny

เม้า

วันเสาร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2558

การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน(หน่วยการเรียนรู้ที่8)

ไทยกับฝรั่งเศสเริ่มมีความสัมพันธ์ระหว่างกันตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช และพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ซึ่งได้ส่งราชทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับสยามเมื่อปี ๒๒๒๘ อ่านเพิ่มเติม


การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ (หน่วยการเรียนรู้ที่8)

การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขันทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม


องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมุษยชน(หน่วยการเรียนรู้ที่7)

   องค์กรระหว่างประเทศในโลกนี้มีมากมาย และหลายประเภทมากแต่ก่อนอื่นที่เราจะมาดูว่าองค์กรเหล่านี้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนนั้นเราต้องมาดูก่อนว่า องค์กร ระหว่างประเทศนั้นคืออะไร องค์การระหว่างประเทศ (International Organizations) หมายถึง โครงสร้างหรือสถาบันที่เป็นทางการ (formal) อ่านเพิ่มเติม

สิทธิมนุษยชน (หน่วยการเรียนรู้ที่7)

   สิทธิมนุษยชน (Human Right)  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ


ข้อตกลงระหว่างประเทศ(หน่วยการเรียนรู้ที่6)

ปัญหาการถูกทำลายของชั้นโอโซนได้ถูกหยิบยกมาอภิปรายโดยองค์การสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Environment  Programme,  UNEP) ซึ่งได้จัดตั้งคณะกรรมการประสานงานเรื่องชั้นโอโซนซึ่งประกอบด้วยผู้แทนจากองค์กรต่างๆ อ่านเพิ่มเติม

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและประเทศชาติ (หน่วยการเรียนรู้ที่6)

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการศึกษาซึ่งประกาศบังคับใช้เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งมีสาระสำคัญ ดังนี้
-เป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน และเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา  
อ่านเพิ่มเติม

สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย(หน่วยการเรียนรู้ที่5)

นับตั้งแต่เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ.2475 เป็นต้นมา ปัญหาสำคัญประการหนึ่งในระบบการเมืองไทย คือ ปัญหาการใช้รัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นหลักในการปกครองประเทศ อ่านเพิ่มเติม


ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ (หน่วยการเรียนรู้ที่5)

สังคมทุกสังคมจะเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นได้ ย่อมต้องมีระเบียบวินัยและผู้นำของสังคมเป็นหลักในการปกครอง ผู้นำของสังคมระดับประเทศโดยเฉพาะระบอบประชาธิปไตยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบของประธานาธิบดีหรือพระมหากษัตริย์ สำหรับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อ่านเพิ่มเติม

คุณลักษณะของพลเมืองดี (หน่วยการเรียนรู้ที่4 )

  คุณลักษณะพลเมืองดี มีคุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า อ่านเพิ่มเติม

พลเมืองดี (หน่วยการเรียนรู้ที่4 พลเมืองดี)

พลเมืองดี” ในวิถีชีวิตประชาธิปไตย พจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของคำต่าง ๆ  อ่านเพิ่มเติม

ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล (หน่วยการเรียนรู้ที่3 )

 เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะ  ที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคม  หรือบริบทของสังคมนั้นๆ  แต่วัฒนธรรมของสังคมทุกสังคมมีความคล้อยคลึงกัน อ่านเพิ่มเติม

วัฒนธรรม (หน่วยการเรียนรู้ที่3 )

   วัฒนธรรม หมายถึง วีถีการดำรงชีวิตที่ดีงาม ได้รับการสืบทอดจากอดีตสู่ปัจจุบันเป็นผลผลิตของมนุษย์ที่แสดงถึงความเจริญ งอกงาม ทั้งด้านวัตถุ แนวคิดจิตใจ วัฒนธรรมในท้องถิ่นจะเป็นเอกลักษณ์ของสังคมท้องถิ่นนั้นๆ อ่านเพิ่มเติม

ปัญหาทางสังคม (หน่วยการเรียนรู้ที่2 )

ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น อ่านเพิ่มเติม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (หน่วยการเรียนรู้ที่2)

สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว อ่านเพิ่มเติม


วันอังคารที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2558

ลักษณะสังคมไทย (หน่วยการเรียนรู้ที่1)

ประเทศไทย เป็นชาติที่มีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่สืบทอดกันมาเป็นเวลานาน ลักษณะของสังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่างๆ ตลอดเวลา อย่างไรก็ตามยังมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทยอยู่ สรุปได้ อ่านเพิ่มเติม


โครงสร้างทางสังคม(หน่วยการเรียนรู้ที่1 )

  โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจำนวนหนึ่ง ซึ่งมีแบบแผนในการปฏิบัติร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน โครง อ่านเพิ่มเติม